Top trends driving cloud adoption today

By Fabio Tiviti, Senior Vice President & General Manager, ASEAN-India, Infor In virtually every industry, organizations of all sizes have reached the tipping point where they’re now recognizing the value of cloud deployment and acknowledging that migrating on-premises solutions to the cloud brings many benefits. This is a massive shift from the early days of […]

เทรนด์ยอดนิยมที่ขับเคลื่อนการใช้คลาวด์ในปัจจุบัน

บทความโดย นายฟาบิโอ ทิวิติ รองประธานและผู้จัดการทั่วไป บริษัท อินฟอร์ อาเชียน-อินเดีย ทุกองค์กรไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ต่างตระหนักดีถึงความสำคัญของการใช้คลาวด์ และยอมรับว่าการย้ายโซลูชันภายในองค์กรไปยังคลาวด์จะก่อให้เกิดประโยชน์ในการดำเนินงานต่าง ๆ มากมาย ต่างไปจากยุคแรก ๆ ของการใช้คลาวด์คอมพิวติ้งมาก ช่วงนั้นอาจเป็นเพราะธุรกิจยังไม่คุ้นเคยกับคลาวด์ ทั้งยังกังวลเรื่องความปลอดภัย การปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา รวมถึงการสูญเสียโซลูชันในองค์กรที่ปรับแต่งไว้มากมาย  ปัจจุบันบริษัทให้บริการเทคโนโลยีคลาวด์ได้พิสูจน์ให้เห็นถึงความน่าเชื่อถือของแพลตฟอร์มคลาวด์ และแสดงให้เห็นถึงการรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวด ความสามารถที่แข็งแกร่ง และความสะดวกในการใช้งาน ซึ่งล้วนช่วยขับเคลื่อนให้องค์กรธุรกิจต่าง ๆ เปลี่ยนมาใช้งานคลาวด์มากกว่าที่เคยเป็นมา เปลี่ยนวิธีการดำเนินธุรกิจ ในโลกดิจิทัลปัจจุบัน การดำเนินธุรกิจโดยใช้ระบบคลาวด์เป็นรากฐานที่สำคัญของการปรับปรุงธุรกิจให้ทันสมัย  สำหรับองค์กรธุรกิจที่ยังตัดสินใจไม่ได้ ลองมาพิจารณาเทรนด์สำคัญบางประการที่จะแสดงให้เห็นว่า การย้ายไปยังระบบคลาวด์ไม่ได้เป็นเพียงปัจจัยสำคัญสำหรับการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังเป็นการเตรียมพร้อมสำหรับการดำเนินธุรกิจในอนาคตอีกด้วย  1. ความจำเป็นในการขจัดข้อมูลแยกส่วน และให้ทุกฝ่ายตัดสินใจโดยใช้มาตรฐานเดียวกัน ข้อมูลของโซลูชันภายในองค์กรมักถูกจัดเก็บเป็นแบบแยกส่วน และให้ข้อมูลเชิงลึกเพียงเล็กน้อยแก่ผู้มีอำนาจตัดสินใจที่สำคัญ ทำให้ผู้บริหาร พนักงาน และคู่ค้าไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลสำคัญได้โดยตรง  ในทางกลับกัน โซลูชันคลาวด์จะจัดเก็บข้อมูลรวมศูนย์ไว้ในคลาวด์ สร้างระบบบันทึกหนึ่งเดียวสำหรับการใช้งานขององค์กร โดยมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์และเข้าถึงได้จากทุกที่ทั่วโลก ระบบคลาวด์ช่วยให้มีการนำข้อมูลที่ถูกต้องไปใช้เป็นข้อมูลเชิงลึกที่แม่นยำในเวลาและบริบทที่เหมาะสม  ส่งผลให้องค์กรตัดสินใจได้รวดเร็วยิ่งขึ้น อีกทั้งช่วยปรับปรุงประสบการณ์ของลูกค้า และลดความเสี่ยงในการดำเนินงานอีกด้วย 2. ความสามารถที่ออกแบบมาเฉพาะให้กับแต่ละอุตสาหกรรมเป็นสิ่งที่ต้องมี ไม่ใช่ “มีก็ดี” อีกต่อไป ธุรกิจต้องการให้โซลูชันทางธุรกิจของตนมีความสามารถที่ออกแบบมาเฉพาะเหมาะกับประเภทของอุตสาหกรรมนั้นๆ เพื่อให้สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการที่ดีที่สุดแก่ลูกค้า  […]

Looking Ahead: Top 3 Supply Chain Predictions for 2022

By Fabio Tiviti, Senior Vice President & General Manager, ASEAN-India, Infor In 2022, we find ourselves heading in to the third year of a global health crisis with unparalleled supply chain impact. Repercussions from severe supply and demand imbalances are being felt worldwide. The availability and increasing cost of labor, freight capacity, semiconductors, empty chassis […]

การแก้ไขปัญหาขยะอาหารในเอเชีย – ผู้ผลิตอาหารและเครื่องดื่มจะเป็นผู้นำในการลดขยะอาหารได้อย่างไร

บทความโดย นายฟาบิโอ ทิวิติ รองประธานและผู้จัดการทั่วไป  บริษัท อินฟอร์ อาเชียน-อินเดีย  รายงานฉบับใหม่ของ Food Waste Index Report ของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (UN Environment Programme) เปิดเผยว่า ในแต่ละปีมีอาหารกว่า 1.3 พันล้านตันถูกทิ้งเป็นขยะ ซึ่งคิดเป็นประมาณเกือบหนึ่งในสามของอาหารที่ผลิตได้ทั้งหมด โดยเป็นขยะอาหารจากครัวเรือนสูงถึง 60% ของจำนวนทั้งหมด  และที่น่าตกใจยิ่งไปกว่านั้น คือ ขยะอาหารทั่วโลกมากกว่าครึ่งเกิดขึ้นในเอเชียนี่เอง ตัวเลขของขยะอาหารเป็นเรื่องที่น่าตกใจเป็นอย่างมาก  เพราะขยะอาหารในทุกวันนี้ได้กลายเป็นแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจกใหญ่เป็นอันดับสาม ทำให้ระบบอาหารทั่วโลกกลายเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิอากาศมากที่สุด และปริมาณการสูญเสียอาหารก็เป็นเรื่องจริงที่ยากจะทำใจยอมรับได้ สำหรับประเทศไทย สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคาดการณ์ว่า มีปริมาณขยะอาหารประมาณ 78.69 กิโลกรัมต่อคนต่อปี และยังขาดการติดตามและจัดเก็บข้อมูลด้านการสูญเสียและขยะอาหารอย่างเป็นระบบ  กรมควบคุมมลพิษจึงร่วมกับองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ภายใต้โครงการการจัดการของเสียแบบผสมผสานเพื่อลดก๊าซเรือนกระจก (Integrated Waste Management for GHG Reduction) จัดทำ “การจัดทำแผนที่นำทางการจัดการขยะอาหารของประเทศไทย (ผู้จำหน่ายอาหาร ผู้ประกอบอาหาร และผู้บริโภค)” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์การจัดการขยะอาหารในประเทศไทย นำเสนอดัชนีขยะอาหาร (Food Waste […]

Infor named a Leader in IDC MarketScape for SaaS and Cloud-enabled ERP for Manufacturing in Asia/Pacific 2021

Infor, the industry cloud company, today announced that IDC has named Infor a Leader in the IDC MarketScape: Asia/Pacific Manufacturing Cloud Enterprise Resource Planning 2021 Vendor Assessment report (doc #AP46741021, July 2021). The IDC MarketScape evaluated vendors based on a comprehensive and rigorous framework that reviews key strategy criteria such as cross-application and functional integration […]

IDC จัดให้ Infor เป็นผู้นำในรายงาน IDC MarketScape ด้านการให้บริการ SaaS และโซลูชัน ERP ที่ใช้งานบนคลาวด์ สำหรับอุตสาหกรรมการผลิตในเอเชียแปซิฟิก 2021

Infor ได้รับการยอมรับด้าน SaaS และโซลูชันคลาวด์ ERP เฉพาะทาง สำหรับอุตสาหกรรมแต่ละประเภท กรุงเทพฯ – 18 พฤศจิกายน 2564 – อินฟอร์ (Infor) บริษัทผู้ให้บริการด้านคลาวด์ที่ออกแบบเฉพาะสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมแต่ละประเภท ประกาศว่าบริษัทได้รับการจัดให้เป็นผู้นำในรายงาน IDC MarketScape: Asia/Pacific Manufacturing Cloud Enterprise Resource Planning 2021 Vendor Assessment report (doc #AP46741021, July 2021) รายงาน IDC MarketScape เป็นการประเมินผู้ขายเทคโนโลยีด้วยกรอบการประเมินที่ครอบคลุมและเข้มงวด ซึ่งจะพิจารณาถึงเกณฑ์การประเมินที่สำคัญ เช่น ความสามารถในการใช้งานข้ามแอปพลิเคชันและการรวมการทำงานเข้าไว้ด้วยกัน การอยู่ในตลาดตามภูมิภาคต่าง ๆ ราคาและรูปแบบของการปรับใช้งาน รวมถึงการให้บริการลูกค้า เกณฑ์ในการพิจารณาเจ้าของเทคโนโลยีแต่ละรายยังรวมถึงครอบคลุมอุตสาหกรรมใดบ้าง เริ่มตั้งแต่ขอบเขตของการให้บริการ ฟังก์ชันการใช้งาน ความสามารถด้านนวัตกรรม และความพึงพอใจของลูกค้า[1] คุณสเตฟานี คริชนัน Associate Vice President IDC […]

นวัตกรรมการจัดการคลังสินค้าได้รับแรงกระตุ้นจากความคาดหวังของผู้บริโภคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีมาตรฐานสูงขึ้น

บทความโดย นายฟาบิโอ ทิวิติ รองประธาน ประจำภูมิภาคอาเชียน บริษัท อินฟอร์ ความเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี ธุรกิจระดับโลก และการค้าในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ต้้งแต่การผลิตอาหารไปจนถึงอุตสาหกรรมยานยนต์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่หยุดยั้ง ส่งผลให้องค์กรต้องปรับปรุงขั้นตอนการดำเนินงานด้านซัพพลายเชน ลดค่าใช้จ่าย เสริมสภาพคล่องเงินทุนหมุนเวียนที่ต้องใช้ในแต่ละวัน รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน และเร่งสร้างสรรค์นวัตกรรม ซึ่งสิ่งที่กล่าวมานี้เกิดจากแรงกดดันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่ต้องตอบสนองต่อความคาดหวังที่เพิ่มขึ้นของผู้บริโภครุ่นใหม่ ซึ่งเคยชินกับการได้รับประสบการณ์ที่ตรงตามความต้องการเฉพาะตัวของตนและที่ไหนเมื่อไรก็ได้  ความกดดันนี้ค่อย ๆ กระจายมายังวงการคลังสินค้า  แม้ว่าที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ในอุตสาหกรรมนี้ คือ การนำเทคโนโลยีมาใช้อย่างจำกัดเพื่อประสิทธิภาพด้านต่าง ๆ เช่น ระบบป้ายรหัสสินค้าอิเล็กทรอนิกส์  (Radio Frequency Identification: RFID) หรือบาร์โค้ด แต่ความเปลี่ยนแปลงที่ใหญ่กว่านี้กำลังจะเกิดขึ้นกับอุตสาหกรรมนี้  สำหรับผู้เพิ่งเริ่มนำเทคโนโลยีมาใช้ IDC รายงานว่า ในปี 2566[1]  งานต่าง ๆ ในคลังสินค้าจะมีการใช้หุ่นยนต์ และการจัดการด้านต่าง ๆ ที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลมากถึง 65% ซึ่งจะเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานได้กว่า 20% และลดเวลาในการประมวลผลคำสั่งลงได้ถึงครึ่งหนึ่ง  แม้ว่าการนำเทคโนโลยีมาใช้ปรับปรุงให้คลังสินค้าเป็นระบบอัตโนมัติทั้งหมดอาจจะยังต้องใช้เวลาอีกมาก […]

ทำไมสถาปัตยกรรมแบบ multi-tenant จึงได้รับการยอมรับว่าเป็นคลาวด์ที่แท้จริง

บทความโดย นายฟาบิโอ ทิวิติ รองประธาน ประจำภูมิภาคอาเชียน บริษัท อินฟอร์ องค์กรธุรกิจที่ตัดสินใจย้ายการทำงานไปยังระบบคลาวด์ มีทางเลือกที่เป็นโซลูชันตามรูปแบบการใช้งานที่ต่างกันสองประเภท คือ แบบ Single-Tenant (ST) ที่รองรับผู้ใช้งานรายเดียวรูปแบบเดียว ซึ่งไม่ได้เป็นอะไรมากไปกว่าการใช้งานโซลูชันภายในองค์กรบนเทคโนโลยีของคนอื่น (ที่เรียกว่า โฮสต์ติ้ง) หรือแบบ Multi-Tenant (MT) ที่รองรับผู้ใช้งานหลายรายในหลากหลายรูปแบบ และสร้างขึ้นบนเทคโนโลยีคลาวด์ที่แท้จริงที่สามารถปรับขนาดการใช้งานเพิ่มขึ้นได้อย่างมาก การตัดสินใจว่าจะใช้รูปแบบใดไม่ว่า ST หรือ MT เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้บริหารส่วนใหญ่ควรพิจารณาถึงผลกระทบอย่างรอบคอบ  การพิจารณาเพียงอย่างเดียวว่าจะเลือกพับลิคหรือไพรเวทคลาวด์ หรือไม่ก็อาจคาดว่าไพรเวทคลาวด์ปลอดภัยกว่า  แนวความคิดเช่นนี้อาจทำให้องค์กรเริ่มต้นเส้นทางปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัลในทิศทางที่ผิด จนนำไปสู่ความล้มเหลว  ประโยชน์เบื้องต้นจำนวนมากที่จะได้รับจากการใช้ MT cloud จะช่วยให้ผู้บริหารด้านไอทีและเพื่อนร่วมงานเข้าใจว่า เพราะเหตุใด MT cloud จึงได้รับการกล่าวขานว่าเป็นคลาวด์ที่แท้จริง ระบบคลาวด์สำคัญอย่างไร แนวทางการดำเนินงานที่องค์กรเลือกนั้นถือว่าสำคัญอย่างยิ่ง เพราะโซลูชันที่เลือกจะกำหนดพารามิเตอร์ในการอัปเกรด และชี้ให้เห็นความสามารถในการทรานส์ฟอร์มสู่ดิจิทัลขององค์กร  หากองค์กรตัดสินใจผิดพลาดอาจส่งผลให้สูญเสียทรัพยากร รวมถึงเวลาและความพยายามของทีมที่ทุ่มเทไป  การที่องค์กรเปลี่ยนไปใช้โซลูชันแบบ ST อาจนำมาซึ่งค่าใช้จ่ายที่ไม่คาดคิดมาก่อน ทำให้ทีมไอทีต้องรับผิดชอบมากขึ้น และเป็นอุปสรรคต่อการนำความสามารถขั้นสูงที่ต้องใช้กับเทคโนโลยีคลาวด์มาใช้งาน  น่าเสียดายที่องค์กรบางแห่งไม่ทราบถึงข้อจำกัดต่าง ๆ ที่แฝงอยู่ในการย้ายไปใช้ ST จนถึงวันที่ต้องประสบกับปัญหาที่ทำให้รู้สึกเหมือนว่าองค์กรกำลังย้ายปัญหาเดิม […]

Infor ครองตำแหน่งผู้นำด้าน Cloud ERP for Product-Centric Enterprises จากการจัดลำดับของรายงาน Gartner Magic Quadrant

โดยประเมินจากโซลูชัน CloudSuite ของ Infor ที่มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับการใช้งานในอุตสาหกรรมแต่ละประเภท อินฟอร์ (Infor) บริษัทผู้ให้บริการด้านคลาวด์ที่ออกแบบเฉพาะสำหรับใช้ในอุตสาหกรรมแต่ละประเภท ประกาศว่า Gartner® Inc. ได้จัดให้ Infor เป็นผู้นำด้าน Cloud ERP for Product-Centric Enterprises ในรายงาน Gartner Magic Quadrant™ ประจำปี 2021 การได้รับการจัดให้อยู่ในกลุ่มผู้นำในรายงาน Gartner Magic Quadrant ในครั้งนี้ มาจากการที่ Gartner ประเมินโซลูชันด้าน CloudSuite เฉพาะทางสำหรับอุตสาหกรรมแต่ละประเภท (Industry-specific CloudSuite) ของ Infor ซึ่งประกอบด้วยแพลตฟอร์มในการวางแผนและบริหารจัดการทรัพยากรขององค์กร (Enterprise Resource Planning: ERP) ของ Infor นำขบวนโดย LN (ระบบ ERP ที่ช่วยลดความซับซ้อนและทำให้การผลิตเป็นอัตโนมัติ), M3 (ระบบ ERP ด้านการผลิตและจัดจำหน่าย) […]

เตรียมพร้อมสู่ยุคใหม่ของความปลอดภัยและสุขภาพ

บทความโดย นายฟาบิโอ ทิวิติ รองประธาน ประจำภูมิภาคอาเชียน บริษัท อินฟอร์ ไม่มีใครทราบเลยว่า การแพร่ระบาดของโควิดนี้จะสิ้นสุดลงเมื่อใด และโลกของการทำงานจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรหลังจากเหตุการณ์นี้ แต่ที่แน่ ๆ ดูเหมือนว่าเราจะรับรู้ได้ถึงผลกระทบและปัญหาที่เกิดขึ้นในช่วงชีวิตเรานี้  ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงมากมายที่เราได้ประสบในช่วง 12-18 เดือนที่ผ่านมา จะพบว่า การทำงานเสมือนจริงไม่ว่าจะเป็นแบบไฮบริดที่ทำงานจากบ้านหรือจากที่ใดก็ตาม หรือเข้าออฟฟิศทุกวันเต็มเวลา ดูเหมือนว่าการทำงานแบบนี้จะยังคงอยู่กับเราต่อไปอีกนาน ในมุมหนึ่ง โควิดให้โอกาสพิสูจน์แนวคิดเรื่องการทำงานจากที่บ้าน (work from home = WFH) ว่าเป็นไปได้จริงหรือไม่ จากการศึกษาล่าสุดของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดแสดงให้เห็นว่า พนักงานที่ได้รับอนุญาตให้ WFH มีความสามารถในการทำงานเพิ่มขึ้น เทียบได้กับการทำงานเต็มวันในทุกสัปดาห์  ยิ่งไปกว่านั้น ผลสำรวจเพิ่มเติมจากรายงานฉบับนี้ยังแสดงให้เห็นว่า การ WFH ทำให้การลาออกของพนักงานลดลง 50% และมีการลาป่วยน้อยลงอีกด้วย  ซึ่งสิ่งที่ตอกย้ำข้อเท็จจริงนี้คือ การลดพื้นที่สำนักงานได้ช่วยประหยัดเงินค่าเช่าลงได้อย่างมาก โดยผลการศึกษาระบุว่า สามารถประหยัดได้ถึง 2,000 เหรียญสหรัฐฯ ต่อพนักงานหนึ่งคน ซึ่งดูเหมือนว่าจะเป็นผลดีต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง  ในทำนองเดียวกัน จากผลสำรวจของ Gartner เมื่อเร็ว ๆ นี้ระบุว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้จะยังคงอยู่ตลอดไป […]

การปรับปรุงประสิทธิภาพคลังสินค้าให้เหมาะสมในช่วงการแพร่ระบาด

บทความโดย นายฟาบิโอ ทิวิติ รองประธาน ประจำภูมิภาคอาเชียน บริษัท อินฟอร์ การแพร่ระบาดในขณะนี้ได้ผลักดันให้มีการเร่งนำเทคโนโลยีไปใช้งานในภาคอุตสาหกรรมจำนวนมาก  จึงไม่ต้องสงสัยเลยว่าบางธุรกิจอาจไม่ทันได้เตรียมพร้อมรับมือเมื่อเกิดโควิด-19 ที่นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ดูได้จากปริมาณอีคอมเมิร์ซที่เพิ่มสูงขึ้น การลดจำนวนพนักงานให้เหลือน้อยที่สุดสำหรับการทำงานในบางพื้นที่ และการปิดธุรกิจเป็นระยะ ๆ  ไม่ว่าจะเป็นผู้จัดจำหน่ายมืออาชีพผลิตภัณฑ์เพื่อการค้าและการอุตสาหกรรม หรืออุปกรณ์ความปลอดภัยและการแพทย์  ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้หมายความว่าจะต้องมีการปรับปรุงการดำเนินงานคลังสินค้าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด  แต่การปรับปรุงนี้แท้จริงแล้วหมายถึงอะไร ปัจจัยสำคัญที่ต้องพิจารณา สิ่งสำคัญที่สุดประการหนึ่งที่ผู้จัดจำหน่ายต้องคำนึงถึง คือ กิจกรรมทั้งหมดที่เกิดขึ้นภายในคลังสินค้าส่งผลกระทบโดยตรงต่อความสัมพันธ์กับลูกค้า ซึ่งความท้าทายในที่นี้ คือ เป้าหมายและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ดูเหมือนจะเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การแพร่ระบาดครั้งใหญ่ได้ทำให้การดำเนินงานคลังสินค้าเกิดความท้าทายหลายอย่างขึ้นพร้อม ๆ กัน  ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ การแพร่ระบาดทำให้เกิดความไม่แน่นอนด้านกำลังคน เนื่องจากสมาชิกในทีมต้องรับมือกับความเจ็บป่วย ต้องถูกกักตัว หรือต้องดูแลบุตรหลาน ส่งผลให้เกิดแรงกดดันต่อทีมและทำให้เกิดความล่าช้าในการผลิต อีกปัจจัยหนึ่ง คือ การเติบโตของอีคอมเมิร์ซที่เพิ่มขึ้นมาก จนแซงหน้ายอดประมาณการสูงสุดที่ตั้งไว้ก่อนหน้านี้ จากการที่ลูกค้าได้สร้างมาตรฐานประสบการณ์ด้าน omni-channel ไว้ค่อนข้างสูง  ในปี 2564 นี้ หากคุณไม่มีกลยุทธ์การตลาดแบบ omni-channel ที่ได้ผล คุณก็เสี่ยงต่อการสูญเสียธุรกิจจำนวนมาก ดังนั้นกุญแจสำคัญ คือ คุณจะต้องมีคลังสินค้าที่สามารถรองรับการขายแบบหลายช่องทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งความท้าทายนี้นับว่าตรงกับปัญหาที่เกิดขึ้น เนื่องจากระบบจัดการคลังสินค้า […]

ระบบเครือข่ายซัพพลายเชนด้านการเงินช่วยซัพพลายเออร์ บรรเทาภาระ และรับมือกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้นได้อย่างดี

บทความโดย นายแคส เบรนท์เจนส์ รองประธานฝ่ายขายผลิตภัณฑ์อินฟอร์ เน็กซ์ซัส ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและญี่ปุ่น สภาวะความผันผวนที่ยังคงสั่นคลอนระบบซัพพลายเชนทั่วโลก กดดันให้ผู้นำธุรกิจต้องคิดถึงแนวทางในการจัดการเอกสาร ข้อมูล และเงินทุนที่ขับเคลื่อนการค้าทั่วโลกใหม่อีกครั้ง บรรดาผู้ค้าปลีกและบริษัทสินค้าอุปโภคบริโภคต้องเผชิญกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้นในหลาย ๆ ด้าน ตั้งแต่วัตถุดิบไปจนถึงสารเคมีเฉพาะ แรงงาน และการขนส่งผ่านตู้คอนเทนเนอร์ ตลอดจนถึงความกังวลที่เพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อ ที่ผู้บริหารด้านการเงินต่างก็รับรู้ได้ถึงผลกระทบต่อกำไรเบื้องต้นของบริษัท หลายบริษัทกำลังพิจารณาปรับขึ้นราคาสินค้า และอีกหลายบริษัทก็กำลังพยายามต่อรองกับซัพพลายเออร์ของตน  ดังนั้นการปรับการดำเนินธุรกิจนำระบบดิจิทัลมาใช้ให้มากขึ้น ทำให้เกิดโอกาสมากมายชดเชยกับต้นทุนและความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นเหล่านี้ได้ และในบางกรณียังช่วยกระตุ้นการเติบโตของธุรกิจได้อีกด้วย ผลกระทบต่อเนื่องต่อผู้ขนส่ง ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมาเกิดอุปสรรคมากมายในการขนส่งสินค้า ซึ่งส่งผลกระทบต่อกำไรและความน่าเชื่อถือเป็นอย่างมาก ค่าใช้จ่ายของบริษัทขนส่งที่พุ่งทะยานโดยมีความหวังเพียงน้อยนิดว่าจะดีขึ้น  กอปรกับความต้องการตู้  คอนเทนเนอร์ที่ยังอยู่ในระดับสูง ความแออัดของท่าเรือขนส่ง ตลอดจนความล่าช้าและการหยุดชะงักต่าง ๆ ที่ได้รับรายงานยาวเหยียด ล้วนแล้วแต่เพิ่มแรงกดดันต่อต้นทุนในการขนส่งด้วยตู้คอนเทนเนอร์ทั้งสิ้น หลักฐานที่ชัดเจนของเรื่องนี้คือการที่เรือเอเวอร์กิฟเว่น (Ever Given) ซึ่งบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์จำนวน 20,000 ตู้ เกยตื้นในคลองสุเอซเมื่อวันที่ 23 มีนาคม กีดขวางการจราจรในคลอง และทำให้การขนส่งสินค้าทางทะเลต้องหยุดชะงักในจุดที่มีการสัญจรทางน้ำที่พลุกพล่านที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นจากเบี้ยประกันในการโหลดสินค้าขึ้นเรือก่อน ได้ซ้ำเติมให้ปัญหานี้รุนแรงยิ่งขึ้น จากข้อมูลของ S&P Platts ผู้ให้บริการข้อมูลด้านพลังงานและสินค้าโภคภัณฑ์ และแหล่งที่มาของราคาอ้างอิง ระบุว่าเบี้ยประกันเหล่านี้ทำให้ค่าใช้จ่ายสำหรับคอนเทนเนอร์ขนาด 40 ฟุต […]

เหตุผลที่ผู้ผลิตอาหารในเอเชียหันมาใช้ระบบคลาวด์

บทความโดย นายฟาบิโอ ทิวิติ รองประธาน บริษัท อินฟอร์ อาเชียน ความต้องการของผู้บริโภคปัจจุบันเพิ่มขึ้นมากกว่าในอดีต ผลพวงมาจากความคุ้นเคยที่ได้รับจากความสะดวกสบายแบบเฉพาะเจาะจงส่วนบุคคลผ่านสมาร์ทโฟนที่ทันสมัยที่มีการเชื่อมต่อตลอดเวลา รวมถึงการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของมาตรฐานการปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านอาหารทั่วโลก การรับรู้เกี่ยวกับความสำคัญด้านความปลอดภัยอาหารและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ความคาดหวังที่เพิ่มขึ้น แม้ว่าความกังวลด้านความยั่งยืน และความปลอดภัยของอาหารเป็นเรื่องที่อาจทำความเข้าใจได้ง่าย แต่ความคาดหวังต่าง ๆ ของลูกค้าที่เพิ่มขึั้น เป็นตัวบ่งชี้ให้เราทราบถึงที่มาของรูปแบบธุรกิจที่เกิดใหม่ เช่น การจัดส่งอาหารถึงผู้บริโภคโดยตรง และ “คลาวด์” คิทเช่น (Cloud Kitchen) พื้นที่ครัวกลางสำหรับให้ร้านค้าหลายแห่งเข้ามาใช้งานร่วมกัน ซึ่งบริการเหล่านี้จะช่วยให้อาหารจานโปรดไปถึงที่พักของคุณได้ในเวลาพอๆ กันกับการที่คุณต้องขับรถไปร้านอาหารด้วยตัวเอง จึงเป็นเรื่องง่ายที่จะพบว่าความนิยมของลูกค้าในทวีปเอเชียเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก และการปร้บเปลี่ยนความคาดหวังของลูกค้านั้นเป็นไปได้อย่างไร ข้อมูลของศูนย์วิจัยกสิกรไทยเปิดเผยว่า แม้ว่าโควิด-19 จะทำให้เศรษฐกิจโลกชะลอตัวลง แต่ก็ทำให้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ และวิธีการดำเนินธุรกิจเปลี่ยนไปเช่นกัน โดยบริษัทอาหารหลายแห่งได้พบกับไลฟ์สไตล์ และความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปจากเดิม และได้มีการปรับตัวเปิดรับโอกาสทางธุรกิจใหม่ ๆ โดยอาศัยโมเดลธุรกิจคลาวด์คิทเช่น ซึ่งได้กระตุ้นให้ปริมาณการจัดส่งอาหารเพิ่มขึ้นถึง 1.5 เท่าในช่วงครึ่งแรกของปี 2563 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว จึงเกิดการคาดการณ์ว่าคลาวด์คิทเช่นจะเพิ่มขึ้นในกรุงเทพฯและปริมณฑลอย่างน้อย 50 แห่งภายในสิ้นปี 2565 ไม่ว่าจะเป็นอาหารที่ปรุงสุกแล้ว หรืออาหารพร้อมปรุงตามการเลือกสรรของแต่ละบุคคล นวัตกรรมต่าง ๆ เช่น การจัดส่งอาหารตรงถึงผู้บริโภค […]

1 2